หน้าเว็บ

บทความที่ได้รับความนิยม

วันพุธที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2555

กลุ่มเครือข่าย ลิกไนต์ 1

นายสมคิด  ธรรมสิทธิ์
รองผู้อำนวยการ สพป.ลำปาง เขต 1
นายประเสริฐ  ศุภชาติไพบูลย์
ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สพป.ลำปาง เขต 1

กระบวนการพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีดังนี
กระบวนการบริหาร
-    ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต ๑ และคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้มีการประชุมผู้บริหารโรงเรียนและคณะศึกษานิเทศก์ มอบนโยบายในการดำเนินการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น
-    ผู้บริหารโรงเรียนได้มีการประชุมเครือข่ายฯ วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์และจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของกลุ่มเครือข่ายและของโรงเรียน
-    ผู้บริหารโรงเรียนได้ประชุมคณะครูและมอบหมายภารกิจให้ครูผู้สอนได้พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ให้กับนักเรียน โดยนำสื่อและนวัตกรรมต่างๆ ที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์
-    การประชุมเครือข่ายโรงเรียนร่วมกันกับผู้บริหารโรงเรียนและคณะครูในสังกัดก่อนเปิดภาคเรียนเพื่อประชุมชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานกระบวนการพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น
-    ผู้บริหารโรงเรียนที่รับผิดชอบงานวิชาการของเครือข่ายร่วมกับครูวิชาการโรงเรียนจัดทำแผนการและร่วมกันจัดกิจกรรมค่ายต่างๆ เพื่อการยกระดับผลสัมฤทธิ์
กระบวนการนิเทศ
-    ได้ประชุมร่วมกับผู้บริหารโรงเรียน ครู ในการประชุมเครือข่ายและนำเอาผลสัมฤทธิ์ของปีการศึกษาที่ผ่านมาให้ ผู้บริหารโรงเรียนและคณะครูร่วมกันวิเคราะห์และวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของตนเอง
-    นำผลการวิเคราะห์และแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของแต่ละโรงเรียนมาสรุปเป็นแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเครือข่าย
-    รอง ผอ.สพป. ศึกษานิเทศก์ และประธานเครือข่าย ได้ร่วมกันนิเทศติดตามผลการจัดการศึกษาของทุกโรงเรียนในเครือข่าย ให้การแนะนำ ปรึกษาและแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นร่วมกับคณะครูในโรงเรียนแบบกัลยาณมิตร ว่าได้ดำเนินการตามแผนหรือไม่
กระบวนการจัดการเรียนรู้
-  ครูวิชาการกลุ่มสาระต่างๆ ร่วมประชุมสัมมนาวิเคราะห์ผลของ O-NET , NT ปี 53 วางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเฉพาะกลุ่มสาระหลัก เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (แม่เมาะ)
- การจัดกิจกรรมค่ายต่าง ๆเช่น ค่ายภาษาอังกฤษ แบ่งเป็นศูนย์ ๕ ศูนย์ คือ ศูนย์โรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ ศูนย์โรงเรียนวัดนาแขม ประกอบด้วยโรงเรียนเวียงหงส์ล้านนา และโรงเรียนวัดนาแขม ศูนย์โรงเรียนสบป้าดวิทยา ประกอบด้วย โรงเรียนสบป้าดวิทยา โรงเรียนบ้านสบเติ๋น ศูนย์โรงเรียนบ้านสบเมาะวิทยา ประกอบด้วยโรงเรียนบ้านสบเมาะวิทยา โรงเรียนบ้านห้วยรากไม้  ศูนย์โรงเรียนบ้านท่าสี ประกอบด้วยโรงเรียนบ้านท่าสี โรงเรียนบ้านจำปุย โรงเรียนบ้านแม่ส้าน
- การจัดค่ายกิจกรรมการพัฒนาการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระหลักอย่างเข็ม เพื่อการสอบ O-NET , NT
-  โรงเรียนที่มีปัญหาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไม่สามารถจัดกิจกรรมได้ มีการเชิญครูที่มีความสามารถไปช่วยเป็นวิทยากรให้
- การพัฒนาสาระการเรียนรู้ภาษาไทยได้นำเอาสือที่มีอยู่ของ ศน.พิมพ์ใจ  นืศาวัฒนานันท์ นำมาปรับและใช้ในการแก้ไขปัญหาและส่งเสริมการเรียนรู้สาระภาษาไทย
- สมาคมพัฒนาแม่เมาะให้การสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของโรงเรียน เช่น นำผู้บริหาร ครู ไปศึกษาดูงานโรงเรียนที่ประสบผลสำเร็จ เพื่อได้เรียนรู้และนำมาปรับประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้น
จากผลการทดสอบ
                      พบว่า   การประเมิน NT แต่ละสาระวิชา มีผลคะเนนที่ลดลงจำนวน 2 สาระวิชา  ได้แก่  สาระวิชาคณิตศาสตร์  และสาระวิชาวิทยาศาสตร์      

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยกระดับผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้น
1.             ในการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายรูปแบบ  ครูควรเน้นให้นักเรียนฝึกทักษะทางภาษาให้มากขึ้น   เน้นนักเรียนให้ปฏิบัติจริง และศึกษาจากสถานที่จริง
2.             ครูมีสื่อการเรียนการสอนให้หลากหลาย
3.             มีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย  ไม่ใช้ข้อสอบวัดความรู้ความสามารถเด็กเพียงอย่างเดียว

อุปสรรคที่ส่งผลต่อการพัฒนา
1.             ภาระหน้าที่ของครุมาก  ทำให้การจัดการเรียนการสอนไม่เต็มที่  โดยเฉพาะงานประชุมและงานอบรมต่างๆ
2.             งบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ์  และจัดทำสื่อมีน้อย  สื่อเทคโนโลยียังเข้าไม่ถึง
3.             ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนตามหนังสือเรียน  ไม่ได้สอนตามตัวชี้วัด
4.             ครูที่สอน จบไม่ตรงกับวิชาเอกที่สอน

-                   วิชาภาษาไทยส่วนใหญ่มีคะแนนเพิ่มขึ้นยกเว้น โรงเรียนที่มีผลคะแนนลดลง มีจำนวน 4 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนแม่ส้าน  โรงเรียนแม่ส้านสาขาบ้านกลาง และโรงเรียนวัดท่าสี
-                   วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนที่มีคะแนนเพิ่มขึ้นจำนวน 6 โรงเรียนได้แก่โรงเรียนบ้านสบเติ๋น  โรงเรียนบ้านสบป้าด  โรงเรียนวัดบ้านแขม  โรงเรียนห้วยรากไม้  โรงเรียนเวียงหงส์ล้านนา  และโรงเรียนวัดท่าสี  ส่วนโรงเรียนที่เหลือจำนวน 6 โรงเรียนมีผลคะแนนลดลง
-                   วิชาวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่มีคะเนนลดลงยกเว้น  โรงเรียนที่มีคะแนนเพิ่มขึ้นมีจำนวน 4 โรงเรียน  ได้แก่  โรงเรียนบ้านสบป้าด  โรงเรียนบ้านสบเติ๋น  โรงเรียนวัดท่าสี และโรงเรียนวัดบ้านแขม

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยกระดับผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้น
1.             ในการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายรูปแบบ  ครูควรเน้นให้นักเรียนฝึกทักษะทางภาษาให้มากขึ้น   เน้นนักเรียนให้ปฏิบัติจริง และศึกษาจากสถานที่จริง
2.             ครูมีสื่อการเรียนการสอนให้หลากหลาย
3.             มีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย  ไม่ใช้ข้อสอบวัดความรู้ความสามารถเด็กเพียงอย่างเดียว

จากผลการสอบ O-NET ชั้น ป.6
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยกระดับผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้น
1.             มีการจัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิผลตามกลยุทธ์ (งบแลกเป้า) ในปี 2554 ทำให้ครูผู้สอนมีแบบฝึกหัดและครุใช้ครบทุกโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย  มีการจัดกิจกรรมเข้าค่ายติวเข้มให้นักเรียนก่อนสอบ O-NET  ทำให้นักเรียนติวเข้มก่อนสอบ
2.             ครุผู้สอนปรับปรุงเทคนิคการสอนและพัฒนาสื่อการสอนให้ตรงเนื้อหาให้มีความสอดคล้องกับหลักสูตร
3.             ครูผู้สอนสอนควรสอนตรงวิชาที่เรียนจบมา
4.             นักเรียนมีศักยภาพในการเรียน
5.             ครูได้มีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลการที่จะดำเนินการสอน เพราะนักเรียนแต่ละคนในชั้นเรียน มีความรุ้และความสามารถที่แตกกต่างกัน
6.             มีการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้นักเรียนปฏิบัติจริง และมีการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายรูปแบบใช้แบบฝึก ศึกษาจากสถานที่จริง จึงทำให้นักเรียนเกิดความสนใจ ใฝ่เรียนรู้  และนำนักเรียนไปเรียนรู้ในสถานที่จริง  โดยให้ลงมือปฏิบัติได้จริง
7.             มีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย  ไม่ใช้ข้อสอบวัดความรู้ความสามารถเด็กเพียงอย่างเดียว
8.             ให้ความสำคัญในสาระการเรียนการสอนทุกวิชาเท่ากันโดยเพิ่มชั่วโมงเรียน
9.             จัดหาสื่อการเรียนรู้ที่ทันสมัยและเร้าใจผู้เรียน

อุปสรรคที่ส่งผลต่อการพัฒนา
1.             ภาระหน้าที่ของครูมาก  ทำให้การจัดการเรียนการสอนไม่เต็มที่  โดยเฉพาะงานประชุมและงานอบรมต่างๆ
2.             งบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ์  และจัดทำสื่อมีน้อยมีจำกัด  สื่อเทคโนโลยียังเข้าไม่ถึงในบางรงเรียน ขาแคลนสื่อการสอน
3.             ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนตามหนังสือเรียน  ไม่ได้สอนตามตัวชี้วัด
4.             การวัดผลประเมินผลของโรงเรียนไม่หลากหลาย ไม่ตรงกับมาตรฐานและตัวชี้วัด
5.             ครูบางโรงเรียนไม่จบวิชาเอกโดยตรง 
6.             เวลาเรียนมีน้อยแต่เนื้อหาสาระในแต่ละสาระมีมาก

-                   วิชาภาษาไทยส่วนใหญ่มีคะแนนเพิ่มขึ้นยกเว้น โรงเรียนที่มีผลคะแนนลดลง มีจำนวน 1 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบ้านจำปุย
-                   วิชาคณิตศาสตร์ส่วนใหญ่มีคะแนนเพิ่มขึ้นยกเว้น โรงเรียนที่มีผลคะแนนลดลง มีจำนวน 1 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนแม่ส้าน
-                   วิชาวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่มีคะเนนเพิ่มขึ้นยกเว้น  โรงเรียนที่มีคะแนนลดลงมีจำนวน 4 โรงเรียน  ได้แก่  โรงเรียนแม่ส้านสาขาบ้านกลาง  โรงเรียนสบเมาะวิทยา  โรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ และโรงเรียนสบป้าดวิทยา
-                   วิชาภาษาอังกฤษมีคะแนนเพิ่มขึ้นทุกโรงเรียน

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยกระดับผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้น

1.   มีการจัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิผลตามกลยุทธ์ (งบแลกเป้า) ในปี 2554 ทำให้ครูผู้สอนมีแบบฝึกหัดและครุใช้ครบทุกโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย  มีการจัดกิจกรรมเข้าค่ายติวเข้มให้นักเรียนก่อนสอบ O-NET  ทำให้นักเรียนติวเข้มก่อนสอบ
2.   ครูผู้สอนปรับปรุงเทคนิคการสอนและพัฒนาสื่อการสอนให้ตรงเนื้อหาให้มีความสอดคล้องกับหลักสูตร
3.   ครูผู้สอนสอนควรสอนตรงวิชาที่เรียนจบมา
4.   นักเรียนมีศักยภาพในการเรียน
5.   ครูได้มีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลการที่จะดำเนินการสอน เพราะนักเรียนแต่ละคนในชั้นเรียน มีความรุ้และความสามารถที่แตกกต่างกัน
6.   มีการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้นักเรียนปฏิบัติจริง และมีการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายรูปแบบใช้แบบฝึก ศึกษาจากสถานที่จริง จึงทำให้นักเรียนเกิดความสนใจ ใฝ่เรียนรู้
7.   มีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย  ไม่ใช้ข้อสอบวัดความรู้ความสามารถเด็กเพียงอย่างเดียว

อุปสรรคที่ส่งผลต่อการพัฒนา
1.             ภาระหน้าที่ของครูมาก  ทำให้การจัดการเรียนการสอนไม่เต็มที่  โดยเฉพาะงานประชุมและงานอบรมต่างๆ
2.             งบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ์  และจัดทำสื่อมีน้อยมีจำกัด  สื่อเทคโนโลยียังเข้าไม่ถึงในบางรงเรียน ขาแคลนสื่อการสอน
3.             ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนตามหนังสือเรียน  ไม่ได้สอนตามตัวชี้วัด
4.             การวัดผลประเมินผลของโรงเรียนไม่หลากหลาย ไม่ตรงกับมาตรฐานและตัวชี้วัด
5.             ครูบางโรงเรียนไม่จบวิชาเอกโดยตรง 

จากผลผลการทดสอบ O-NET ชั้น ม.3
-                   วิชาภาษาไทย  มีคะแนนเพิ่มขึ้นทุกโรงเรียน
-                   วิชาคณิตศาสตร์  มีคะแนนเพิ่มขึ้นทุกโรงเรียน
-                    วิชาวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเพิ่มขึ้นทุกโรงเรียน
-                   วิชาภาษาอังกฤษมีคะแนนเพิ่มขึ้นทุกโรงเรียน

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยกระดับผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้น
1.   มีการจัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิผลตามกลยุทธ์ (งบแลกเป้า) ในปี 2554 ทำให้ครูผู้สอนมีแบบฝึกหัดและครุใช้ครบทุกโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย  มีการจัดกิจกรรมเข้าค่ายติวเข้มให้นักเรียนก่อนสอบ O-NET  ทำให้นักเรียนติวเข้มก่อนสอบ
2.   ครูผู้สอนปรับปรุงเทคนิคการสอนและพัฒนาสื่อการสอนให้ตรงเนื้อหาให้มีความสอดคล้องกับหลักสูตร
3.   ครูผู้สอนสอนควรสอนตรงวิชาที่เรียนจบมา
4.   นักเรียนมีศักยภาพในการเรียน
5.   ครูได้มีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลการที่จะดำเนินการสอน เพราะนักเรียนแต่ละคนในชั้นเรียน มีความรุ้และความสามารถที่แตกกต่างกัน
6.   มีการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้นักเรียนปฏิบัติจริง และมีการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายรูปแบบใช้แบบฝึก ศึกษาจากสถานที่จริง จึงทำให้นักเรียนเกิดความสนใจ ใฝ่เรียนรู้
7.   มีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย  ไม่ใช้ข้อสอบวัดความรู้ความสามารถเด็กเพียงอย่างเดียว

อุปสรรคที่ส่งผลต่อการพัฒนา
1.             ภาระหน้าที่ของครูมาก  ทำให้การจัดการเรียนการสอนไม่เต็มที่  โดยเฉพาะงานประชุมและงานอบรมต่างๆ
2.             งบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ์  และจัดทำสื่อมีน้อยมีจำกัด  สื่อเทคโนโลยียังเข้าไม่ถึงในบางรงเรียน ขาแคลนสื่อการสอน
3.             ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนตามหนังสือเรียน  ไม่ได้สอนตามตัวชี้วัด
4.             การวัดผลประเมินผลของโรงเรียนไม่หลากหลาย ไม่ตรงกับมาตรฐานและตัวชี้วัด
5.             นักเรียนมีพื้นฐานความรู้น้อย
6.             นักเรียนส่วนใหญ่เป็นเด็กด้อยโอกาส  เรียนปานกลาง  ความสามารถในการสื่อสารอยู่ในระดับที่ยังไม่น่าพอใจ
-                   วิชาสังคมศึกษา มีคะแนนเพิ่มขึ้นทุกโรงเรียน
-                   วิชาสุขพละ มีคะแนนลดลงทุกโรงเรียน
-                   วิชาศิลปศึกษามีคะแนนเพิ่มขึ้นทุกโรงเรียน
-                   วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีมีคะแนนเพิ่มขึ้นทุกโรงเรียน

 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยกระดับผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้น

1.             จัดหาครูที่มีความรู้ความสามารถในแต่ละสาระการเรียนรู้มาสอนในแต่ละโรงเรียน
2.             คณะครูวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยจากมาตราฐานการเรียนรู้แต่ละสาระแล้วนำมาแก้ไขปรับปรุงและพัฒนา
3.             นำนักเรียนไปเรียนรู้ในสถานที่จริง  โดยให้ลงมือปฏิบัติได้จริง
4.             จัดหาสื่อการเรียนรู้ที่ทันสมัยและเร้าใจผู้เรียน
5.                มีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย  ไม่ใช้ข้อสอบวัดความรู้ความสามารถเด็กเพียงอย่างเดียว  และมีการประเมินตามสภาพจริงในระหว่างเรียนและหลังเรียน
6.             ครูผู้สอนปรับปรุงเทคนิคการสอนและพัฒนาสื่อการสอนให้ตรงเนื้อหาให้มีความสอดคล้องกับหลักสูตร

อุปสรรคที่ส่งผลต่อการพัฒนา

1.             ภาระหน้าที่ของครูมาก  ทำให้การจัดการเรียนการสอนไม่เต็มที่  โดยเฉพาะงานประชุมและงานอบรมต่างๆ
2.             งบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ์  และจัดทำสื่อมีน้อยมีจำกัด  สื่อเทคโนโลยียังเข้าไม่ถึงในบางรงเรียน ขาแคลนสื่อการสอน  หนังสือแจกผผู้เรียนไม่ครบ 100 %  ไม่เพียงพอกับจำนวนนักเรียน เพราะเนื้อหา หนังสือมีการเปลี่ยนแปลงทุกปีการศึกษา
3.             ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนตามหนังสือเรียน  ไม่ได้สอนตามตัวชี้วัด 
4.             การวัดผลประเมินผลของโรงเรียนไม่หลากหลาย ไม่ตรงกับมาตรฐานและตัวชี้วัด
5.             ครูบางโรงเรียนไม่จบวิชาเอกโดยตรง 
6.             เวลาเรียนมีน้อยแต่เนื้อหาสาระในแต่ละสาระมีมากและมีกิจกรรมเสริมหลักสูตรมากเกินไป ทำให้เวลาเรียนไม่เพียงพอ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น